Rattasak Dechpan
เว็บบล๊อกบันทึกการเรียนรู้วิชา graphic design for packaging โดย รัฐศักดิ์ เดชพันธ์
วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555
ส 2 Resume (สมมติฐาน)
ออกแบบโครงร่างบรรจุภัณฑ์โดยการสเก็ตหยาบ
สเก็ตโลโก้น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม
โดยเปลี่ยนชื่อแบรนด์จาก ไผ่ริมแคว เป็น ตาลริมแคว เนื่องจาก แบรนด์ ไผ่ริมแคว ยังไม่สื่อถึงตัวผลิตภัณฑ์ที่เป็น น้ำตาลมะพร้าวอยู่ จึงเพิ่มคำว่าตาลขึ้นมา และตัดคำว่า ไผ่ ไป แต่ยังคงคำว่าริมแควไว้เพื่อสื่อถึงสถานที่ผลิต คือ จังหวัด กาญจนบุรี ที่มีแม่น้ำแควไหลผ่าน
การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์แบบ 3 มิติ
การออกแบบโลโก้ แบรนด์ ตาลริมแคว
สืบค้น 1
น้ำตาลมะพร้าว คือน้ำตาลที่ผลิตมาจากน้ำตาลที่ไหลจากงวงมะพร้าว การผลิตน้ำตาลมะพร้าวนั้นมีความพิถีพิถันมาก การขึ้นไปรองน้ำตาลสดนั้นต้องเริ่มแต่เช้ามืดและขึ้นเก็บวันละนับร้อยต้น เพื่อให้ได้น้ำตาลสดเพียงพอในการผลิตน้ำตาลมะพร้าว เกษตรกรจะนำกระบอกรองน้ำตาลพร้อมกับมีดปาด งวงปีนขึ้นไปบนยอดของต้นมะพร้าว เพื่อนำกระบอกใส่น้ำตาลภายในบรรจุไม้เคี่ยมหรือไม้พะยอมซึ่งใส่ในปริมาณพอ ควรเพื่อป้องกันการบูดเน่าของน้ำตาลสด ปลดกระบอกรองตาลที่รองไว้ ตั้งแต่ ๔ โมงเย็นออก จากนั้นหยิบมีดปาดงวงมะพร้าวใหม่แล้วนำกระบอกรองตาลใบใหม่ผูกติดกับงวงเพื่อ รองน้ำตาลที่ไหลออกมาจากรอยที่ปาดไว้ น้ำตาลสดที่รองได้จะถูกนำมาเคี่ยวที่เตาตาล โดยมีการกรองเศษไม้และสิ่งสกปรกทิ้งก่อนเพื่อให้ได้น้ำตาลที่สะอาด น้ำตาลสดจะถูกเคี่ยวจนเดือด พอน้ำตาลเริ่มงวดจึงลดไฟ ยกกระทะลงจากเตา นำพายหรือขดลวดมาตีกระทุ้งเพื่อให้น้ำตาลแห้งและแข็งตัวเร็วขึ้น และช่วยให้น้ำตาลที่ถูกเคี่ยวจนมีสีน้ำตาล (เนื่องจากปฏิกิริยาสีน้ำตาลที่เกิดขึ้นเมื่อน้ำตาลถูกความร้อน) เปลี่ยนเป็นสีเหลืองนวลขึ้นโดยอาศัยการแทนที่ของอากาศ กระทุ้งจนได้น้ำตาลสีขาวเหลืองน่ากิน น้ำตาลเริ่มแข็งตัวก็จะใช้เกรียงขูดออกจากกระทะ เทใส่ปี๊บ เรียกว่า "น้ำตาลปี๊บ" ถ้าเทลงใส่ถ้วยตะไลหรือพิมพ์ได้น้ำตาลที่มีลักษณะเป็นก้อนกลมๆ นิยมเรียกว่า "น้ำตาลปึก"
การศึกษาบรรจุภัณฑ์
1.ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวสินค้า
ชื่อสินค้า : ไผ่ริมแคว
ประเภท : น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม 100%
ไม่ปรุงแต่งสถานะ : น้ำตาลมะพร้าว
วัสดุหลัก : ถุงพลาสติก
ผู้ผลิต : คุณแดง – เจ๊หนู
ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์ : เลขที่ 55 หมู่ 3 ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ส่วนประกอบของสินค้า : น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม 100%
2.โครงสร้างหลักของบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ชั้นแรก กล่องพลาสติก หรือพลาสติกชนิด โพลิเอทีลีน ชนิดความหนาแน่นต่ำ แบบมีแคบซีนชนิดหดตัว
สีของวัสดุบรรจุ : ใส
ใช้สติ๊กเกอร์แปะเพื่อเป็นพื้นที่โฆษณา
3.การออกแบบกราฟิก
ภาพประกอบเป็นรูปมะพร้าว โลโก้ชื่อสินค้าเป็นตัวอักษรภาษาไทยสีขาวบนพื้นสีเขียว
1.คือ กล่องบรรจุภัณฑ์ แบบพลาสติก ทรงกระบอกมีฝาปิด
2. คือ แคปซีล (cap seal) ปิดกล่องพลาสติก
3. คือ สีของสติ๊กเกอร์แบรนด์
4. คือ รูปต้นมะพร้าว
5. คือ ฟอนต์น้ำตาลมะพร้าวน้ำหอม
6. คือ ฟอนต์แหล่งที่อยู่บรรจุภัณฑ์
7. คือ ฟอนต์คุณแดง-เจ๊หนู
8. คือ รูปมะพร้าว
9. คือ เลข 100%
10. คือ ฟอนต์ไผ่ริมแคว
11. คือ ฟอนต์ เจ้าแรกในกาญจนบุรีและเบอร์โทรศัพท์
12. คือ เครื่องหมาย มผช
วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ภาพที่ 1 Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่
ภาพที่ 2 Logo Type Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่
ภาพที่ 3 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่ https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj-FrGXQWNHwyGXbIzSYL-xqUosj5Zp1EUz8_5puaTsu1LJgpXxCC0VcEVcMfHgA919Ye9Vvga32uIhjbCAbkEz1-qHZXRvcJdeB1ZSrjWCGB2GyoOdwX7FpJuFQNZPUOC3hLkbz-pOZBRB/s800/IMG_9056.JPG
ภาพที่ 3 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่
ภาพที่ 4 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่
ภาพที่ 5 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่ https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiYgHHwmMhObROydVE29q38prjVdbP7DIrPRtPiBDuLP2_yAmIg3o0EyNAc8WttFtrjvgrZMCXpwQ7rmxJjZbnlJ8FZQC_07YnLcBZREbo36UNBnegcgIy5U-7na5LXjCT1hGqIM_UkbgLP/s800/IMG_9058.JPG
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สัปดาห์ที่ 6 การติดตามผลการดำเนินงานกลุ่ม ขั้น ส.1- ส.2
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการดำเนินงานออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhuk9LAmSaqQHas_1Q4YrT-SeDDMJ5kc1U1ZRail9-0o4oPMBb7tcypH-AS0Q3Fv08GMOzLsQ3SGXu7gqsPsWcmwXPdAO-XD-APbflnlz4An6hbP5Vcu0CL-ihOJilvgtcX_lhBn0PKkFTN/s640/Product+and+Package+design+direction++3+R+framework.jpg
การเริ่มต้นทำงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการกำหนดกรอบแนวคิดในการดำเนินงาน(Design Direction or Framework) และการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าและบรรจุภัณฑ์ทางการมองเห็น (Product's Package Visual Analysis) คุณทราบหรือไม่ว่า แต่ละเลขหมายที่กำกับไว้คืออะไร มีชื่อศัพท์เฉพาะว่าอย่างไร หากไม่ทราบควรเริ่มจากการใช้คำสำคัญค้นคือ ใช้ "4W2H" เป็นแนวทางเพื่อศึกษาหาองค์ความรู้ก่อน แล้วจะทราบคำตอบที่แน่ชัดว่างานที่ต้องทำหรือออกแบบนั้นคืออะไร
จะต้องเกี่ยวข้องกับการที่ต้องใช้องค์ความรู้ศาสตร์สาขาใด เครื่องมือและอุปกรณ์ในการคิด การสร้างสรรค์และการผลิตอย่้างไร ในสัปดาห์ที่ 6 นี้ ต้องมีคำตอบและแต่ละกลุ่มต้องนำเสนอแนวทางพัฒนา จากโจทย์ที่มอบหมายไปแล้ว
ภาพที่ 2 Product's Package Visual Analysis
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiJE7UVY-IGHCnqZwkU8HfCGP0V9CTwJUtYaVX2uQvQew7_OsP7KaNC8lPdB26DMtbaa9v8sVRv6c7rsAMQ5Gg3cRRizDxbRyfhcuv2a8COkJorXNAKDTe6d-Zie_0pTwnN5BIRrmqCaA4c/s640/Product+and+Package+Visual+Analysis+.jpg
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการดำเนินงานออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhuk9LAmSaqQHas_1Q4YrT-SeDDMJ5kc1U1ZRail9-0o4oPMBb7tcypH-AS0Q3Fv08GMOzLsQ3SGXu7gqsPsWcmwXPdAO-XD-APbflnlz4An6hbP5Vcu0CL-ihOJilvgtcX_lhBn0PKkFTN/s640/Product+and+Package+design+direction++3+R+framework.jpg
การเริ่มต้นทำงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการกำหนดกรอบแนวคิดในการดำเนินงาน(Design Direction or Framework) และการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าและบรรจุภัณฑ์ทางการมองเห็น (Product's Package Visual Analysis) คุณทราบหรือไม่ว่า แต่ละเลขหมายที่กำกับไว้คืออะไร มีชื่อศัพท์เฉพาะว่าอย่างไร หากไม่ทราบควรเริ่มจากการใช้คำสำคัญค้นคือ ใช้ "4W2H" เป็นแนวทางเพื่อศึกษาหาองค์ความรู้ก่อน แล้วจะทราบคำตอบที่แน่ชัดว่างานที่ต้องทำหรือออกแบบนั้นคืออะไร
จะต้องเกี่ยวข้องกับการที่ต้องใช้องค์ความรู้ศาสตร์สาขาใด เครื่องมือและอุปกรณ์ในการคิด การสร้างสรรค์และการผลิตอย่้างไร ในสัปดาห์ที่ 6 นี้ ต้องมีคำตอบและแต่ละกลุ่มต้องนำเสนอแนวทางพัฒนา จากโจทย์ที่มอบหมายไปแล้ว
ภาพที่ 2 Product's Package Visual Analysis
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiJE7UVY-IGHCnqZwkU8HfCGP0V9CTwJUtYaVX2uQvQew7_OsP7KaNC8lPdB26DMtbaa9v8sVRv6c7rsAMQ5Gg3cRRizDxbRyfhcuv2a8COkJorXNAKDTe6d-Zie_0pTwnN5BIRrmqCaA4c/s640/Product+and+Package+Visual+Analysis+.jpg
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)