วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Packaging Design : Idea Sketch
ภาพที่ 1 Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่

ภาพที่ 2 Logo Type Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่

ภาพที่ 3 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่ https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj-FrGXQWNHwyGXbIzSYL-xqUosj5Zp1EUz8_5puaTsu1LJgpXxCC0VcEVcMfHgA919Ye9Vvga32uIhjbCAbkEz1-qHZXRvcJdeB1ZSrjWCGB2GyoOdwX7FpJuFQNZPUOC3hLkbz-pOZBRB/s800/IMG_9056.JPG


ภาพที่ 3 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่

ภาพที่ 4 Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่

ภาพที่ 5  Product Sketch design
ที่มา :รัฐศักดิ์ เดชพันธ์,2555 เข้าถึงเมื่อ 23 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จากที่อยู่ https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiYgHHwmMhObROydVE29q38prjVdbP7DIrPRtPiBDuLP2_yAmIg3o0EyNAc8WttFtrjvgrZMCXpwQ7rmxJjZbnlJ8FZQC_07YnLcBZREbo36UNBnegcgIy5U-7na5LXjCT1hGqIM_UkbgLP/s800/IMG_9058.JPG



วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 6 การติดตามผลการดำเนินงานกลุ่ม ขั้น ส.1- ส.2

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการดำเนินงานออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhuk9LAmSaqQHas_1Q4YrT-SeDDMJ5kc1U1ZRail9-0o4oPMBb7tcypH-AS0Q3Fv08GMOzLsQ3SGXu7gqsPsWcmwXPdAO-XD-APbflnlz4An6hbP5Vcu0CL-ihOJilvgtcX_lhBn0PKkFTN/s640/Product+and+Package+design+direction++3+R+framework.jpg
การเริ่มต้นทำงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ ด้วยการกำหนดกรอบแนวคิดในการดำเนินงาน(Design Direction or Framework) และการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลสินค้าและบรรจุภัณฑ์ทางการมองเห็น (Product's Package Visual Analysis) คุณทราบหรือไม่ว่า แต่ละเลขหมายที่กำกับไว้คืออะไร มีชื่อศัพท์เฉพาะว่าอย่างไร หากไม่ทราบควรเริ่มจากการใช้คำสำคัญค้นคือ ใช้ "4W2H" เป็นแนวทางเพื่อศึกษาหาองค์ความรู้ก่อน แล้วจะทราบคำตอบที่แน่ชัดว่างานที่ต้องทำหรือออกแบบนั้นคืออะไร

จะต้องเกี่ยวข้องกับการที่ต้องใช้องค์ความรู้ศาสตร์สาขาใด เครื่องมือและอุปกรณ์ในการคิด การสร้างสรรค์และการผลิตอย่้างไร ในสัปดาห์ที่ 6 นี้ ต้องมีคำตอบและแต่ละกลุ่มต้องนำเสนอแนวทางพัฒนา จากโจทย์ที่มอบหมายไปแล้ว

ภาพที่ 2 Product's Package Visual Analysis
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiJE7UVY-IGHCnqZwkU8HfCGP0V9CTwJUtYaVX2uQvQew7_OsP7KaNC8lPdB26DMtbaa9v8sVRv6c7rsAMQ5Gg3cRRizDxbRyfhcuv2a8COkJorXNAKDTe6d-Zie_0pTwnN5BIRrmqCaA4c/s640/Product+and+Package+Visual+Analysis+.jpg
Week 5 : การนำเสนอผลการศึกษาวิเคระห์ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบรรจุภัณฑ์เบื้องต้น

ภาพที่ 1 แสดงผลงานนักศึกษา
ที่มา : ประชิด ทิณบุตร ,2555 เข้าถึงเมื่อ 16 กรกฏาคม 2555
เข้าถึงได้จากURL
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgTLMSqz22I6Tf95BdNq3KYM5O2D1n6hGge86gkfHDJIEnM3UyiaO3tS4IumeGYB4Zz3L6ZcJtQVhUIwFQu2tN3adGZOcc3VMAQIGfUFXi7tLP8fYIj_Cc5o-ImHfw9IuYBukOPgcsLEERm/s640/prachid-arti3314-week5-group102-12.jpg
ในสัปดาห์ที่ 5 นี้ เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ตามกระบวนการเรียนรู้แบบวิธีการเรียนรู้จากปัญหา(Problem Based Learning / Work Based Learning) หรือการทำงานจริงในสถานการณ์ที่เป็นจริง จากการที่ผู้สอนเป็นหัวหน้าทีมวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี ในนามของ บจก.เอซีที(ไทยแลนด์)โครงการของ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี ตามโครงการการส่งเสริมการผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP และการบริหารจัดการชุมชนเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี จัดโดยบริษัท เอซีที อินเทลลิเจ้นท์ จำกัด ตามแบบฟอร์มและหัวข้อที่ตั้งให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาและตอบคำถามนำทางคือ 4W2H โดยให้แต่ละกลุ่ม(กลุ่มละ 4 คน แบ่งกลุ่มโดยวิธีการสุ่มตามเลขที่นับจำนวนตามจำนวนกลุ่ม รวมกลุ่มเรียนละ 11 กลุ่ม ภาคนอกเวลา 6 กลุ่ม)